Reuangpanya
วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555
เรื่อง ภูมิประเทศทวีปเอเชีย
ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 6 เขต คือ
1. เ
ขตที่ราบต่ำทางเหนือ คือบริเวณตอนบนของทวีปซึ่งอยู่ในเขตสหภาพโซเวียต(เดิม)
ในเขตไซบีเรีย ส่วนใหญ่เป็นเขตโครงสร้างหินเก่า
ที่เรียกว่า แองการาชีลด์ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบขนาดใหญ่ มีแม่น้ำอ็อบ
แม่น้ำเยนิเซ และแม่น้ำลีนา ไหลผ่าน บริเวณมีอาณาเขตกว้างขวางมากไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่
เพราะอากาศหนาวเย็นมาก
2. เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ ได้แก่ดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำต่างๆซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ
และมักมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ได้แก่
- ในเอเชียตะวันออก
ได้แก่ที่ราบลุ่มแม่น้ำฮวงโห ที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน
- ในเอเชียใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ ในประเทศปากีสถาน
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา
ในประเทศอินเดีย และที่ราบลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร ในบังคลาเทศ
- เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส ที่ราบลุ่มแม่น้ำยูเฟรตีส ในประเทศอิรัก
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ในประเทศกัมพูชา และ เวียตนาม ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดงในประเทศเวียตนาม
ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในประเทศไทย ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวินตอนล่าง ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี
ในประเทศพม่า
3. เขตเทือกเขาสูง เป็นเขตหินใหม่ ตอนกลางประกอบด้วยที่ราบสูงและเทือกเขามากมาย
ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาที่แยกตัวไปจากจุดรวมเทือกเขาที่เรียกว่า “ปามีร์นอต (Pamir
Knot)” หรือ
ภาษาพื้นเมืองเรียกว่า “ปามีร์ดุนยา (Pamir
Dunya) แปลว่า หลังคาโลก”
จุดรวมเทือกเขาปาร์มีนอต อาจแยกได้ดังนี้
เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาหิมาลัย
เทือกเขาอาระกันโยมา และเทือกเขาที่มีแนวต่อลงมาทางใต้ มีบางส่วนที่จมหายไปในทะเล
และบางส่วนโผล่พ้นขึ้นมาเป็นเกาะในมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค
ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยไปทางเหนือ มีเทือกเขาที่แยกไปทางตะวันออก ได้แก่
เทือกเขาคุนลุน เทือกเขานานชาน
และแนวที่แยกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาคินแกน
เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอย และเทือกเขาโกลีมา
เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอย และเทือกเขาโกลีมา
เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันตก แยกเป็นแนวเหนือและแนวใต้ ได้แก่
เทือกเขาฮินดูกูช เทือกเขาเอลบูรซ ส่วนแนวทิศใต้ ได้แก่ เทือกเขาสุไลมาน
เทือกเขาซากรอส เมื่อเทือกเขา 2 แนวนี้มาบรรจบกันที่อาร์เมเนียนนอตแล้ว ยังแยกออกเป็นอีก 2 แนว ในเขตประเทศตุรกี
คือแนวเป็นเทือกเขาปอนติก และแนวใต้เป็นเทือกเขาเตารัส
4. เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป เป็นที่ราบสูงในเขตหินใหม่
ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ซึ่งมีขนาดใหญ่และสูงที่สุดในโลก ที่ราบสูงยูนาน ทางใต้ของจีน
และที่ราบสูงที่มีลักษณะเหมือนแอ่งคือ
ที่ราบสูงตากลามากัน (Takla Makan) ซึ่งอยู่ระหว่างเทือกเขาเทียนชาน
กับเทือกเขาคุนลุน แต่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมาก และ มีอากาศแห้งแล้งเป็นเขตทะเลทราย
5.
เขตที่ราบสูงทางตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้
ได้แก่ ที่ราบสูงขนาดใหญ่ทางตอนใต้ของทวีปเอเชียมีความสูงน้อยกว่าที่ราบสูงทางตอนกลางของทวีป
ได้แก่ ที่ราบสูงเดคคาน ในอินเดีย
ที่ราบสูงอิหร่านในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ที่ราบสูงอนาโตเลีย
ในตุรกี ที่ราบสูงอาหรับในซาอุดิอาระเบีย
6. เขตหมู่เกาะภูเขาไฟ เป็นเขตหินใหม่ คือ
บริเวณหมู่เกาะอันเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟทั้งที่ดับ
แล้วและที่ยังคุกรุ่นอยู่ในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กิจกรรมทดสอบที่ 2 เรื่อง ภูมิประเทศทวีปเอเชีย
คำสั่ง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์
1. ลักษณะภูมิประเทศของทวีปเอเชียแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
คือ …………………………..…
และ……………………………
2. ลักษณะภูมิประเทศของทวีปเอเชียแบ่งออกเป็น 6
เขต คือ
1)
……….……………………………......... 4)………………………………………………….
2)
…………….……………………........…. 5)………………………………………………….
3)
………………….………………........… 6)………………………………………………….
3.
เขตที่ราบไซบีเรีย อยู่ในเขตหินเก่าที่เรียกว่า …………….………………………………
เป็นเขตที่ราบต่ำแต่ใช้ เพาะปลูกไม่ได้ เนื่องจาก………………………………………………………….
4.
ทวีปเอเชียมีเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำที่สำคัญ
ดังนี้ คือ
1)
เอเชียตะวันออก ได้แก่ที่ราบลุ่มแม่น้ำ………………………………………….ในประเทศจีน
2)
เอเชียใต้ ได้แก่ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ
ประเทศ……………………………… ,
แม่น้ำคงคา
ในประเทศ……………………..………... และแม่น้ำพรหมบุตร ประเทศ….………….
3)
เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส ที่ราบลุ่มแม่น้ำยูเฟรติส ในประเทศ………………
4)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
ในประเทศ………………
……………และประเทศ ………………………… , ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง ในประเทศ…… ……………………… , ที่ราบลุ่ม แม่น้ำเจ้าพระยา ในประเทศ…………… , ที่ราบลุ่มแม่น้ำ สาละวินตอนล่าง และที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในประเทศ……………………...
5. จุดรวมเทือกเขาทางตอนกลางของทวีปที่เป็นเขตหินใหม่ คือจุดรวมเทือกเขาที่เรียกว่า…
……………………..(………………………….) ภาษาพื้นเมืองเรียกว่า ………………… .(…………………………..) แปลว่า……………………...
6. จุดรวมเทือกเขาปาร์มีนอต เป็นจุดรวมเทือกเขาสูง ต่างๆ ได้แก่ เทือกเขา…………
……………………………… ……………………………………………………………
………………………………..………………………………………………………………… …..……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….
7.
เขตที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก คือ
ที่ราบสูง………………………………… ในประเทศ …
…………………………………….
เขตที่ราบสูง ยูนนาน
และตากลามากัน เป็นเขตทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่ในประเทศ………………
………………………
8. ที่ราบสูง เคดคาน
อยู่ในประเทศ…………………………….. , ที่ราบสูงอิหร่าน
อยู่ในประเทศ……………………………. และประเทศ……………… , ที่ราบสูงอนาโตเลีย อยู่ในประเทศ………………………….. , ที่ราบสูงอาหรับอยู่ในประเทศ……………………………..
9. เขตหมู่เกาะภูเขาไฟในเอเชียตะวันออก
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เป็นดินภูเขาไฟที่เหมาะ
แก่การเพาะปลูก ได้แก่ หมู่เกาะของประเทศ………………………………………………… …………………………………………………
10. บริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ ได้แก่……………………………………………………………………………………………………………..
|
วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
ลักษณะทั่วไป
เอเชีย
(Asia) มาจากคำว่า อาซู (Asu) ในภาษาอัสซีเรียน
แปลว่า ดินแดนแห่งดวงตะวันขึ้น (ตะวันออก) ใช้เรียกดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของอาณาจักรอัสซีเรียนมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน
เอเชียได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่างหรือทวีปแห่งความตรงข้าม
(a continent of contrast) หรือ ทวีปแห่งความเป็นที่สุด(a
continent of extremes)มียอดเขาเอเวอเรสต์ในเทือกเขาหิมาลัยสูงที่สุดในโลก
สูง 8,848 เมตร (2,928 ฟุต) มีพื้นแผ่นดินที่ต่ำที่สุด
คือ ทะเลเดดซี อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 400 เมตร (1,312 ฟุต)
และเหวทะเลมาเรียนาซึ่งลึกที่สุดในโลก มีอากาศหนาวเย็นที่สุด
ได้แก่ตอนเหนือของไซบีเรีย มีอากาศร้อนและแห้งแล้งที่สุดจนเป็นทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
และมีฝนตกชุกที่สุดในแคว้นอัสสัมของอินเดีย นอกจากนี้ยังเป็นทวีปที่มีประชากรมากที่สุดในโลก
และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทุกทวีป
ขณะที่เขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไม่มีผู้คนอาศัยอยู่เลย
ความเป็นอยู่ของประชากรก็มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่ฐานะดีจนถึงยากจนแร้นแค้น
เอเชียจึงได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่าง
ที่ตั้งและอาณาเขตของทวีปเอเชีย
ทิศเหนือ ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติก
ในทะเลาคารา ทะเลลัฟเตฟ และทะเลไซีบีเรียตะวันออก จุดเหนือสุด คือแหลมชิลยูสกิน
ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย ที่ละติดจูด 77 องศา 45
ลิปดาเหนือ
มีเกาะขนาดใหญ่ทางตอนเหนือได้แก่
เกาะเซเวอร์นายาเซมลีอา หมู่เกาะนิวไซบีเรีย และเกาะแรงเจล
ทิศตะวันออก ติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิค
ในเขตทะเลเบริง ทะเลโอคอต ทะเลญี่ปุ่น ทะเลเหลือง ทะเลจีน
ตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีคาบสมุทรเบรอง คาบสมุทรคามชัตกา และคาบสมุทรเกาหลี เป็นส่วนของแผ่นดินด้านนี้ จุดตะวันออกสุดอยู่ที่ อีสต์เคป ประเทศรัสเซีย ที่ลองติจูด 169 องศา 40 ลิปดาตะวันตก เกาะใหญ่ได้แก่ เกาะแซคาลิน เกาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด และเกาะชิโกกุ เกาะคิวชู เกาะไต้หวัน และเกาะลูซอน ละติจูดที่ 1 องศา 16 ลิปดาเหนือ - 37 องศา 41 ลิปดาเหนือ
ตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีคาบสมุทรเบรอง คาบสมุทรคามชัตกา และคาบสมุทรเกาหลี เป็นส่วนของแผ่นดินด้านนี้ จุดตะวันออกสุดอยู่ที่ อีสต์เคป ประเทศรัสเซีย ที่ลองติจูด 169 องศา 40 ลิปดาตะวันตก เกาะใหญ่ได้แก่ เกาะแซคาลิน เกาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด และเกาะชิโกกุ เกาะคิวชู เกาะไต้หวัน และเกาะลูซอน ละติจูดที่ 1 องศา 16 ลิปดาเหนือ - 37 องศา 41 ลิปดาเหนือ
ทิศใต้ ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย
น่านน้ำทางตอนใต้ ได้แก่ อ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ อ่าวเปอร์เซีย และอ่าวเอเดน จุดใต้สุดของภาคพื้นทวีปอยู่ที่
แหลมปิไอ ประเทศมาเลเซีย ที่ละติจูด 1 องศา 15 ลิปดา ซึ่งอยู่ห่างเส้นศูนย์สูตรประมาณ 150 ก.ม. เกาะใหญ่ทางทิศใต้ของทวีปเอเชียได้แก่ เกาะลังกา
เกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา ซึ่งเป็นเกาะที่อยู่ใต้สุด บริเวณละติจูดที่ 8
องศาใต้
ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลแดง คลองสุเอช
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ เทือกเขาคอเคซัส ทะเลแคสเปียน และเทือกเขาอูราล จุดตะวันตกสุด
อยู่ที่ แหลมบาบา ประเทศตุรกี ที่ลองติจูด26 องศา
40 ลิปดาตะวันออก เกาะใหญ่ได้แก่ เกาะไซปรัส
40 ลิปดาตะวันออก เกาะใหญ่ได้แก่ เกาะไซปรัส
การแบ่งภูมิภาคของทวีปเอเชีย
แผนที่ : เอเชีย United Nations geographic classification scheme
ขอบคุณข้อมูลจาก ครูพรรณี วงศ์ประสิทธิ์ โรงเรียนดอกคำใต้วิทยาคม จังหวัดพะเยา
ข้อมูลแผ่นดินไหวในประเทศไทย
วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555
ใบงาน/แบบฝึกหัด วิชาสังคมศึกษา
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 4
|
เรื่อง ทวีปเอเชีย
คำชี้แจง ให้นักเรียนนำตัวอักษรหน้าข้อความในหมวด
ข ใส่ในลงเล็บหน้าข้อความหมวด ก ที่สัมพันธ์กัน
หมวด ก
(…….) 1. ยอดเขาที่สูงที่สุด (…….) 2. ประชากรอาศัยอยู่เบาบาง (….....) 3. ภูเขาหินปูนสูงตระหง่าน (…….) 4. ที่ราบสูงอนาโตเลีย (…….) 5. ภูเขไฟฟูจิ
(…….) 6. จุดรวมเทือกเขาของทวีป
(…….) 7. ที่ราบสูงเก่า (…….) 8. โอเอซิส (…….) 9. โกบี (…….) 10. กรากะตัว (…….) 11. เดคคาน (…….) 12. แม่น้ำนานาชาติ (…….) 13. ประชากรอาศัยเบาบาง
เนื่องจากอากาศหนาวเย็น
(…….) 14. ฮวงโห แยงซีเกียง (…….) 15. ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่บริเวณ
ตอนกลางของทวีป
|
หมวด ข
ก. ที่ราบสูงที่ใหญ่ที่สุด ข. ภูเขาไฟในประเทศอินโดนีเซีย ค. ประเทศญี่ปุ่น ง. แม่น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของจีน จ. เอเวอร์เรสต์ ฉ. ที่ราบไซบีเรียตะวันตก ช. แหล่งน้ำกลางทะเลทราย ซ. ทะเลทรายในมองโกเลีย ฌ. หิมาลัย ญ. ชุมเขาปามีร์ (จุดรวมเทือกเขาปามีร์นอต) ฎ. ที่ราบสูงเดคคาน ฏ. เกิดเป็นภูเขาหินปูนสูงตระหง่านชื่อหิมาลัย ฐ. ที่ราบสูง ฑ. แม่นำโขง ฒ. แม่น้ำคงคา ณ. แม่น้ำสายสำคัญในประเทศจีน ด. ที่ราบสูงอิหร่าน ต. เขตที่ราบต่ำตอนเหนือของทวีป ถ. หมู่เกาะฟิลิปปินส์ |
ชื่อ......................................................
ม.1/..........
เลขที่.............
กิจกรรมทดสอบที่ 1 เรื่อง รู้จักทวีปเอเชีย
ให้นักเรียนเติมคำลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ทวีปเอเชีย มีที่ตั้งตรงกับ ละติจูดที่…………………ศาเหนือ - ลองติจูดที่ ………….... องศาใต้
ลองติจูดที่………….....…องศาตะวันออก - ลองติจูดที่…………… องศาตะวันตก
2. จากพิกัดภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย
2.1 แสดงให้เห็นว่าทวีปเอเชียมีที่ตั้งอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบ………………………………………………
2.2 ตามแนวนอนเอเชียอยู่ในซีกโลกภาค…………………………………………………………………………
2.3 ตามแนวตั้งเอเชียอยู่ในซีกโลกภาค……………………………………………………………………………
3. ประเทศไทยตั้งอยู่ในเอเชียภูมิภาค……………………………………………………………………………………
4. ตามโครงสร้างทางธรณีวิทยาเอเชียมีที่ตั้งอยู่ในเขต………………………………………………………………
5. ท่านทราบหรือไม่ว่าทวีปเอเชียประกอบด้วยกี่ประเทศ ตอบ…………………..ประเทศ
6. ทวีปเอเชียมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ คือ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ……… ……………………..ทิศตะวันออก ติดต่อกับ …………………………………
ทิศใต้ ติดต่อกับ ……………………………..ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ………..…………………………
7. สมญานามของทวีปเอเชีย…………………………………………………………………….......................................
……………………………………………………….……………………………………………........................................ ……………………………………………………………………………………………………......................................... …………………………………………………………………………………………………….........................................
8. ทวีปเก่าแก่ที่สุดในโลก คือ ทวีป………………………………………………….
9. ทวีปเอเชียมีพื้นที่……………………….ล้านตารางกิโลเมตร
10. บริเวณที่ร้อนที่สุดของทวีปเอเชีย คือบริเวณ…………………………………ในเอเชีย………............................
กิจกรรมทดสอบ ที่ 2 เรื่อง ลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย
กิจกรรมทดสอบที่ 3 เรื่อง ภูมิอากาศทวีปเอเชีย
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์
1. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น จะอยู่ระหว่างละติจูดที่ ……………………………ถึง…………… ………………………
มีลักษณะอากาศ……………………………………………………………………………………
…………………..
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น…………………………………………………………………………… …………………
2. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน จะอยู่เหนือละติดจูดที่ ………………………………..………
………………………..
มีลักษณะอากาศ…………………………………………………………………………………
……………………..
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น………………………………………………………………………… ……………………
3. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน มีลักษณะอากาศ………………………………………… ………………………….
ได้แก่ประเทศ………………………………………………………………… ………………………………………..
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น………………………………………………………………………… ……………………
4. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตอบอุ่น มีลักษณะอากาศ………………………………………… ………………………….
ได้แก่ประเทศ………………………………………………………………………………………
…………………
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น……………………………………………………………………………
………………..
5. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป มีลักษณะอากาศ……………………………………… ………………………
ได้แก่ประเทศ…………………………………………………………………………………………
………………..
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น………………………………………………………………………………
……………...
6. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายแถบอุ่นชื้น มีลักษณะอากาศ…………………………………………………….
ได้แก่ประเทศ…………………………………………………………………………………………………………...
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น…………………………………………………………………………… ………………...
7. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย มีลักษณะอากาศ…………………………………………………… ……………………...
ได้แก่ประเทศ………………………………………………………………………………………
……………….....
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น……………………………………………………………………………
………………...
8. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีลักษณะอากาศ………………………………………………………………………
ได้แก่ประเทศ………………………………………………………………………………………
…………………..
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น……………………………………………………………………………
………………...
9. ภูมิอากาศแบบไทกา(กึ่งขั้วโลก)
มีลักษณะอากาศ……………………………………...………………………………
ได้แก่ดินแดนทาง…………………………………………………………………………………………….…………
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น…………………………………………………………………………………………….…
10. ภูมิอากาศแบบทุนดรา(ขั้วโลก) มีลักษณะอากาศ………………………..……………………………………………
ได้แก่ดินแดนทาง………………………………………………………………………….…………….. ……………
พืชพรรณธรรมชาติ เป็น………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมทดสอบที่ 4 เรื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กิจกรรมทดสอบที่ 5 เรื่อง เอเชียตะวันออก
กิจกรรมทดสอบ ที่ 6 เรื่อง เอเชียใต้
กิจกรรมทดสอบที่ 7 เรื่อง เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
กิจกรรมทดสอบที่ 8 เรื่อง เอเชียกลาง
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)